
ในปัจจุบันนี้นะ น่าเป็นห่วง นั่นก็เพราะว่า เมื่อคน อินเดีย เวียดนาม จีน อพยพมาไทย และ
อีกอย่างคือกลับได้ดีซะด้วยแต่คนไทย คงเป็นลูกจ้าง อยู่เหมือนเดิมไม่ไปไหนเลย
เมื่อ 100 ปีก่อน : คนจีน หนีความย ากจนอดอย าก มา เมืองไทยแบบเสื่อผืนหมอนใบเป็นกุลี
แบกข้าวสา ร ล าก รถ ฯลฯคนไทย ดู ถู ก เรียก “ไ อ้เจ็ ก”แต่คนจีนขยันไม่เกี่ยงงาน อย ากเป็นเจ้าของ
กิจการ อย ากเป็นพ่อค้าและคนไทย นี่แหละชอบสบายอย ากเป็นเจ้าคนนายคน รับร าชการ มียศ มีสี มีเกียรติ
จนมาถึงวันนี้ คนจีนร่ำรวยเป็ นเจ้าของกิจการเยอะแยะ(คนไทยเป็นลูกจ้างและเป็นลูกหนี้คนจีน)
50 ปีก่อน คนอินเดีย : คนบังคลาเทศ หนีความย ากจน มาที่เมืองไทยเป็ นคนขายนมแพะ เป็นย าม
ขายถั่วคนไทยดู ถู กเรียก “ไ อ้บัง”คนอินเดียนั้นขยัน เจียมเนื้ อเจียมตัว ประหยัด ออม อดทน ไม่ยอมเสี ย
เปรียบจนวันนี้คนอินเดียเป็นเจ้าของกิจการ มากมายในไทยทั้งร้าน เจ้าของโรงงาน ขายผ้า(
คนไทยเป็นลูกจ้าง และเป็นลูกหนี้คนอินเดีย)
และ 30 ปีก่ อน คนเวียตนาม : อพยพมาไทย นั่นเพราะหนีสงค ร า ม มาเมืองไทยมาเป็นลูกจ้างทำประมง
ซ่อมรถทำน าคนไทย ดู ถู ก เรียก “ไ อ้แ กว”จนวันนี้ เมืองไทยโดยเฉพาะทางอีสาน และภ าคตะวันออกคนเวียตนาม
เป็นเจ้าของกิจการมากมายส่วนคนไทยน่ะเหรอ เป็นลูกจ้าง เขาตามเคยวันนี้ คนเขมร ลาว พม่ า เข้ามาไทย ทั้งถูกต้อง
ทั้งไม่ถูกต้อง เพราะ A E C เปิดรับค่ าแร ง 300 บาท เข้ามาเป็นคนรับใช้ในบ้าน พนักงานโรงแรม
เด็ กปั้ม คนงานก่อสร้าง คนไทย ดู ถู กเรียก “ไ อ้เขมร”สิ่งที่น่าเป็นห่วงในอนาคตคือ อีก 20 ปีข้างหน้า
ชนชาติต่างๆ ที่อพยพเข้ามาเขาคงเป็นเจ้าของกิจการกันหม ดเหมือนที่เคยเกิ ดขึ้นกับ คนจีน คนเวียดนาม
คนอิน เดียและ คนไทยก็คงกลับมาเป็นลูกจ้าง คนเ ข ม ร คนพม่ า คนลา วนี่คือคนไทย แท้ๆ นะ ทำไมกัน คนไทย
มีความรู้ มีฝีมือแร งงานที่ดีแต่ไม่สร้างโอกาส ไม่สร้างงานให้มีคุณค่าเลยล่ะงานหนักหน่อย ท้อ ออก งานเหนื่ อยหน่อย
บ่น งานมากหน่อย บอกค่าจ้ างถูก ไม่คุ้ม ลาออกน่ าเป็นห่วงคนไทยที่รักสนุก ไม่อดทนไม่พึ่งพาตัวเอง รักสบาย
ชอบหรูหราเลี้ยงลูกไม่รู้จักโต เ ส พ ติ ด วั ตถุนิยมขายที่ดินปู่ย่ าต ๅ ย า ย กิน ขออย่ าให้เป็นเช่นนี้เลย
เรามีฝีมือ มีทักษะดี ไหวพริบดี ฉลาด เอาตัวรอดเก่งเราจงนำมันออกมาใช้ให้เกิ ดประโยชน์ดีกว่า รักกันไว้เถิดคนไทย
อย่ าให้ อีก 20 ปีข้างหน้า ต้องเป็นลูกจ้าง หรือ ต้องเป็นลูกหนี้ ต่างชาติใน A E C เลย..เรียบเรียง คิดกลับด้าน